Skip to content

ความเปลี่ยนแปลง

View changes from to


On 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2021 3 นาฬิกา 28 นาที 04 วินาที UTC, Gravatar jidapa dumrongsombut:
  • Updated description of resource รายงานการจ้างงาน แบ่งตามชนิดแร่ (NUMBER OF WORKERS EMPLOYED IN MINES BY KIND OF MINERAL) in รายงานการจ้างงาน from

    สถานการณ์อุตสาหกรรมเหมืองแร่ของไทย ปี 2562 1.การผลิต การผลิตแร่ของไทย ปี 2562 มีมูลค่าประมาณ 74,083.8 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 3.89 เมื่อเทียบกับปี 2561 ที่มีมูลค่าการผลิตประมาณ 77,081.6 ล้านบาท แร่ที่มีมูลค่าการผลิตสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ หินปูน 37,452.6 ล้านบาท รองลงมา คือ ลิกไนต์ 13,508.8 ล้านบาท ยิปซัม 4,903.7 ล้านบาท หินแกรนิต 2,890.1 ล้านบาท และ หินบะซอลต์ 2,537.3 ล้านบาท ตามลำดับ 2.การใช้ การใช้แร่ของไทย ปี 2562 มีมูลค่าประมาณ 71,289.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.58 เมื่อเทียบกับปี 2561 ที่มีมูลค่าการใช้ประมาณ 70,877.0 ล้านบาท แร่ที่มีปริมาณการใช้สูงสุดของไทยปี 2562 ได้แก่ หินปูน 176 ล้านตัน รองลงมา คือ ลิกไนต์ 14 ล้านตัน หินแกรนิต 12.3 ล้านตัน หินบะซอลต์ 12.2 ล้านตัน และ ดินซีเมนต์ 8.6 ล้านตัน โดยส่วนใหญ่ใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง และอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ 3.การนำเข้า การนำเข้าแร่จากต่างประเทศ ในปี 2562 มีมูลค่าประมาณ 62,189.9 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 14.60 เมื่อเทียบกับปี 2561 ที่มีมูลค่าการนำเข้าแร่ประมาณ 72,819.8 ล้านบาท แร่นำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ ถ่านหิน 22,297.6 ล้านบาท รองลงมา คือ บิทูมินัส 21,748.6 ล้านบาท ดีบุก 3,586.3 ล้านบาท โมลิบดีไนต์ 2,562.5 ล้านบาท และ ทัลก์ 1,627.7 ล้านบาท ตามลำดับ ซึ่งกลุ่มแร่พลังงาน เป็นกลุ่มแร่สำคัญที่มีการนำเข้ามากที่สุด โดยแร่หลักที่สำคัญ ได้แก่ แอนทราไซต์ บิทูมินัส ถ่านหิน โค้ก ลิกไนต์ และพีท มีมูลค่ารวม 45,422.7 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนของการนำเข้าแร่ทั้งหมดสูงถึงร้อยละ 73.04 4.การส่งออก ในปี 2562 การส่งออกแร่ไปต่างประเทศมีมูลค่าประมาณ 13,249.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.75 เมื่อเทียบกับปี 2561 ที่มีมูลค่าการส่งออกแร่ประมาณ 12,895 ล้านบาท แร่ส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ ดีบุก ซึ่งอยู่ในรูปโลหะ มีมูลค่าการส่งออกมาที่สุด 5,543.9 ล้านบาท โดยตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ สเปน สหรัฐอเมริกา และไต้หวัน รองลงมา ได้แก่ เฟลด์สปาร์ 1,396.7 ล้านบาท และ แอนไฮไดร์ท 797.7 ล้านบาท ส่วนแร่อโลหะ มีการส่งออกแร่ยิปซัมมากที่สุด 3,204.6 ล้านบาท โดยตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ อินโดนีเซีย เวียดนาม มาเลเซีย และญี่ปุ่น
    to
    # สถานการณ์อุตสาหกรรมเหมืองแร่ของไทย ปี 2562 ##1.การผลิต *การผลิตแร่ของไทย ปี 2562 มีมูลค่าประมาณ 74,083.8 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 3.89 เมื่อเทียบกับปี 2561 ที่มีมูลค่าการผลิตประมาณ 77,081.6 ล้านบาท แร่ที่มีมูลค่าการผลิตสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ หินปูน 37,452.6 ล้านบาท รองลงมา คือ ลิกไนต์ 13,508.8 ล้านบาท ยิปซัม 4,903.7 ล้านบาท หินแกรนิต 2,890.1 ล้านบาท และ หินบะซอลต์ 2,537.3 ล้านบาท ตามลำดับ ##2.การใช้ การใช้แร่ของไทย ปี 2562 มีมูลค่าประมาณ 71,289.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.58 เมื่อเทียบกับปี 2561 ที่มีมูลค่าการใช้ประมาณ 70,877.0 ล้านบาท แร่ที่มีปริมาณการใช้สูงสุดของไทยปี 2562 ได้แก่ หินปูน 176 ล้านตัน รองลงมา คือ ลิกไนต์ 14 ล้านตัน หินแกรนิต 12.3 ล้านตัน หินบะซอลต์ 12.2 ล้านตัน และ ดินซีเมนต์ 8.6 ล้านตัน โดยส่วนใหญ่ใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง และอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ ##3.การนำเข้า การนำเข้าแร่จากต่างประเทศ ในปี 2562 มีมูลค่าประมาณ 62,189.9 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 14.60 เมื่อเทียบกับปี 2561 ที่มีมูลค่าการนำเข้าแร่ประมาณ 72,819.8 ล้านบาท แร่นำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ ถ่านหิน 22,297.6 ล้านบาท รองลงมา คือ บิทูมินัส 21,748.6 ล้านบาท ดีบุก 3,586.3 ล้านบาท โมลิบดีไนต์ 2,562.5 ล้านบาท และ ทัลก์ 1,627.7 ล้านบาท ตามลำดับ ซึ่งกลุ่มแร่พลังงาน เป็นกลุ่มแร่สำคัญที่มีการนำเข้ามากที่สุด โดยแร่หลักที่สำคัญ ได้แก่ แอนทราไซต์ บิทูมินัส ถ่านหิน โค้ก ลิกไนต์ และพีท มีมูลค่ารวม 45,422.7 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนของการนำเข้าแร่ทั้งหมดสูงถึงร้อยละ 73.04 ##4.การส่งออก ในปี 2562 การส่งออกแร่ไปต่างประเทศมีมูลค่าประมาณ 13,249.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.75 เมื่อเทียบกับปี 2561 ที่มีมูลค่าการส่งออกแร่ประมาณ 12,895 ล้านบาท แร่ส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ ดีบุก ซึ่งอยู่ในรูปโลหะ มีมูลค่าการส่งออกมาที่สุด 5,543.9 ล้านบาท โดยตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ สเปน สหรัฐอเมริกา และไต้หวัน รองลงมา ได้แก่ เฟลด์สปาร์ 1,396.7 ล้านบาท และ แอนไฮไดร์ท 797.7 ล้านบาท ส่วนแร่อโลหะ มีการส่งออกแร่ยิปซัมมากที่สุด 3,204.6 ล้านบาท โดยตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ อินโดนีเซีย เวียดนาม มาเลเซีย และญี่ปุ่น